
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาครุศาสตร์อุตสาหกรรมไฟฟ้า
งานยึดโยง
ที่มา https://www.slideshare.net/soiyza/ss-42821420
5.5.1 วัสดุและอุปกรณ์สำหรับการยึดโยง
1.สมอบก คือส่วนที่ฝั่งไว้ใต้ดิน สามารถรัลแรงดึงของเสาไฟฟ้า
2.ก้านสมอบก ใช้สำหรับยึดต่อออกมาจากสมอบก
3.สายยยึดโยง เป็นลวดเหล็กตีเกลียวใช้สำหรับแรงดึงของเสาไฟไม่ให้ล้มเอียง
4.ลูกถ้วย ยึดโยง หรือลูกถ้วยมะเฟือง ใช้คั่นระหว่างสายยึดโยง เพื่อป้องกันอัยตรายเนื่องจากไฟรั่ว
5.กายทิมเบิล หรือห่วงโค้งสาย ทำจากอลูมิเนียมชุมโครเมี่ยม เพื่อรองรับการโค้งของสายยึดโยง
6.ยูแคล้มป์ ทำหน้าที่จับยึดสายยึดโยงให้แน่น
7.แหวนสี่เหลี่ยมแบน ใช้รองรับหัวนัทสลักเกลียว
8.แผ่นห่วงยึดโยง 30 องศา
9.กายการ์ด ใช้สำหรับครอบป้องกันสายยึดโยง
5.5.2 รูปแบบของการยึดโยง
รูปแบบการยึดโยงเสามี 2 ลักษณะ
1.การเรียกชื่อสายยึดโยงตามลักษณะแบบ
1.1สายยึดโยงแบบสมอบก
1.2สายยึดโยงแบบบนทางเท้า
1.3สายยึดโยงแบบต่อไม้ ยึดส่วนบนเสาไปยังเสาตอไม้ยาว 2.5-4 เมตร โดนเสาตอไม้จะถูกโยงไปอีกที
1.4สายยึดโยงแบบเสาไม้ ยึดส่วนนบนเสาไปยังเสาไม้ยาว 8 เมตร โดยเสาไม้จะถูกยึกโยงอีกที
1.5สายยึดโยงแบบเสาไฟฟ้า ยึดส่วนบนเสาต้นแรกไปยังส่วนล่างของเสาต้นต่อไป ใช้พื้นที่ต่างระดับ หรือข้ามทางรถไฟ
1.6สายยึดโยงแบบหัวเสา ยึดจากหัวเสากับหัวเสาอีกต้น
2.การเรียกชื่อตามหน้าที่ที่จะนำไปใช้งาน
2.1สายยึดโยงเข้าปลายสาย ใช้เมื่อปลายสายและเสาที่หักมุมเกิน 60 องศา โดยจะต้องมีสายยึดโยงแบบนี้ 2 ชุด ติดตั้งในแนวเดียวกับแรงดึงของสายนวละชุด เพื่อให้เกิดการสมดุล
-สายยึดโยงแบบสมอบก
-สายยึดโยงแบบตอไม้
-สายยึดโยงแบบเสาไม้
2.2สายยึดโยงด้านข้าง ใช้กับสายไฟที่มี 60 องศา เพื่อรับแรงดึงอันเป็นผลลัพธ์ จากแรงดึงของสายไฟฟ้าที่ไม่ได้อยู่ในแนวเดียวกัน
-สายยึดโยงแบบบสมอบก
-สายยึดโยงแบบเสาไม้
-สายยึดโยงบนทางเท้า
2.3สายยึดโยงตามแนวสาย ใช้สายยึดโยง 2 เส้น เพื่อเพิ่มความปลอดภัย
2.4สายยยึดโยงป้องกันพายุ ใช้บริเวณลมพัดผ่านไม่รุนแรง ใช้ยึดโยงด้านข้าง 2 ชุดติดทุกระยะประมาณ 500-1000 เมตร
2.5สายยึดโยงแบบตรึงกับที่ ใช้บริเวณมีลมพายุพัดผ่านจะยึดโยงตามแนวสายสาย และยึดโยงป้องกันพายุรวมกันบนเสาต้นเดียวติดทุกระยะประมาณ 2000-3000